วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง

การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง
ตัวแปร : อักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x , y ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวน   ค่าคงตัว : ตัวเลขที่แทนจำนวน เช่น 1, 2    นิพจน์ : ข้อความในรูปสัญลักษณื เช่น 2, 3x ,x-8 ,
เอกนาม : นิพจน์ที่เขียนอยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กำลังของตัวแปรเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เช่น -3, 5xy , 2y
พหุนาม : นิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปของเอกนาม หรือการบวกเอกนามตั้งแต่สองเอก นามขึ้นไป เช่น 3x , 5x +15xy+10x+5
ดีกรีของเอกนาม : ดีกรีสูงสุดของเอกนามในพหุนามนั้น เช่น x+2xy+1 เป็นพหุนามดีกรี 3
อ่านเพิ่มเติม

การเท่ากันของจำนวนจริง

การเท่ากันของจำนวนจริง
การเท่ากันของจำนวน เราใช้ “ = ” แทนการเท่ากัน เช่น1 + 2 = 3 ; 6 x 2 = 12 ,  5 – 3 = 2 ; 24 ÷ 3 = 8
 การเท่ากันในระบบจำนวนจริงมีสมบัติพื้นฐาน ดังนี้
1. สมบัติการสะท้อน  ถ้า a เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้ว a = a เช่น 3 = 3
2. สมบัติการสมมาตร เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงใด ๆ ถ้า a = b แล้ว b = a  เช่น ถ้า 3 + 4 = 7 แล้ว 7 = 3 + 4
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การเท่ากันในระบบจํานวน

สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

1. สมบัติปิดการบวก: a+ b จะต้องเป็นจำนวนจริงเสมอ
2. สมบัติการเปลี่ยนหมู่ของการบวก: a + (b + c) = (a + b) + c
3. สมบัติการมีเอกลักษณ์การบวก: a + 0 = a = 0 + a โดยที่เราเรียก 0 ว่าเอกลักษณ์ของการบวก
4. สมบัติการมีอินเวอร์สของการบวก: a + (-a) = 0 = (-a) + a โดยที่ (-a) เป็นอินเวอร์สการบวกของ a
5. สมบัติปิดของการคูณ: a คูณ b หรือ ab จะต้องมีผลลัพธ์เป็นจำนวนจริงเสมออ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

จำนวนจริง

จำนวนจริง จะประกอบไปด้วย

1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น √2 , √3, √5, -√2, - √3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่า 3.14159265...
2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำอ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จํานวนจริง

การให้เหตุผลแบบนิรนัย



  การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปผลจากข้อความซึ่งเป็นความจริงทั่วไปมาเป็นข้ออ้างเพื่อสนับสนุนให้เกิดข้อสรุปที่เป็นความรู้ใหม่ที่เป็นข้อสรุปส่วนย่อยข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผลแบบนิรนัยนั้นจะเป็นข้อสรุปที่อยู่ในขอบเขตของเหตุเท่านั้นจะเป็นข้อสรุปที่กว้างหรือเกินกว่าเหตุไม่ได้การให้เหตุผลแบบนิรนัยประกอบด้วยข้อความ2กลุ่มโดยข้อความกลุ่มอ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การให้เหตุผลแบบนิรนัย

การให้เหตุผลแบบอุปนัย



     การให้เหตุผลแบบอุปนัย  เป็น การให้เหตุผลโดยอาศัยข้อสังเกตหรือผลการทดลองจากหลาย ๆ ตัวอย่าง มาสรุปเป็นข้อตกลง หรือข้อคาดเดาทั่วไป  หรือคำพยากรณ์ ซึ่งจะเห็นว่าการจะนำเอาข้อสังเกต   หรือผลการทดลองจากบางหน่วยมาสนับสนุนให้ได้ข้อตกลง หรือ ข้อความทั่วไปซึ่งกินความถึงทุกหน่วยอ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การให้เหตุผล

ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน คอมพลีเมนต์ของเซต



ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A ∪ B
ตัวอย่างเช่นA ={1,2,3}
B= {3,4,5}
A ∪ B = {1,2,3,4,5}อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต

สับเซต และ เพาเวอร์เซต


 


  สับเซต (subset) หรือ เซตย่อย”  คือ เซตที่เล็กกว่าหรือเท่ากันกับเซตที่กำหนด โดยต้องใช้สมาชิกร่วมกับเซตที่กำหนดเท่านั้น  สัญลักษณ์ที่ใช้แทนประโยค “ A เป็นสับเซตของ B” คือ A Ì B และจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต นั้นเป็นสมาชิกของเซต ด้วย หรือเมื่อ เป็นเซตว่างก็ได้อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สับเซตและเพาเวอร์เซต

เอกภพสัมพัทธ์



เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ถูกกำหนดขึ้นโดยมีข้อตกลงว่า จะกล่าวถึงสิ่งที่เป็นสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นใดที่ไม่เป็นสมาชิกของเซตนี้ โดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์ แทนเซตที่เป็นเอกภพสัมพัทธ์อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เอกภพสัมพัทธ์

วันพฤหัสบดีที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

เซต

เซ 

เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น       เซตสระในภาษาอังกฤษ  หมายถึง  กลุ่มของอังกฤษ  a, e, i, o และ u       เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง  กลุ่มตัวเลข 1,2,3,4,5,6,7,8,และ9        สิ่งที่ในเชตเรียกว่า  สมาชิก  ( element หรือ members )อ่านเพิ่มเติม    

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เซต
       

ฟังก์ชันขั้นบันได

ฟังก์ชันขั้นบันได  คือ ฟังก์ชัน บน จำนวนจริง ซึ่งเกิดจากการรวมกันระหว่าง ฟังก์ชันคงตัว จาก โดเมน ที่แบ่งออกเป็น ช่วง หลายช่วง  กราฟของฟั...